PREP#2 note -- international grants

สรุปจาก อ.เจตสุมน นักวิจัยที่ได้ตำแหน่งระดับเทียบเท่ากับศาสตราจารย์ มีผลงานมากมายกับนักวิจัยในระดับนานาชาติ แลำทงานเกี่ยวกับ infectious disease เป็นหลัก

 - local problem but bigger impact

- NIH มีความโปร่งใสมาก

- ทุนใหญ่บางตัว อาจจะขอดู preliminary data ซะด้วยซ้ำไป หรือดูจากการที่เรา literature reviews มา ว่าเราทำได้ดีหรือเปล่า

- คกก ระดับนานาชาติ จะ professional มาก เพราะจะดูว่าการวางแพลนของเราจะ feasible หรือเปล่า, realistic หรือเปล่า

- NIH อาจจะ comment ถึง CV ของ PI, approach ของการทำวิจัย

- Environment ของ มม จะไม่ค่อยตก ที่ตก ก็จะเป็นพวก approach, cv ของ PI, 

- การให้ทุนของไทย อ เจตสุมน บอกกลาย ๆ ว่าไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ เพราะไม่มีการฟีดแบคกลับมา ถึงแม้ว่าทุนก้อนนั้นจะเป็นทุนก้อนใหญ่ก็ตาม สำหรับคนที่ไม่ได้ทุน ก็ไม่มีความคิดเห็นตอบกลับว่าทำไมถึงไม่ได้ และควรต้องปรับปรุงตรงไหน

Example:



- อ แนะนำให้ขอทุน ตปท ดีกว่าเพราะว่ามันจะเป็นประโยชน์มากกว่า เพราะมีฟีดแบคกลับมาค่อนข้างดี เนื่องจากการบริหารงานค่อนข้างดีกว่า

- สรุป อ เจตสุมน แนะนำให้ขอจาก ตปท มากกว่า

**

PREP -- Professional Researcher Empowerment Program จัดโดยกองวิจัย นำโดย ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ภัทรชัย กีรติสิน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล 

เป็นโครงการที่ดี เพราะโดยส่วนตัวตอนที่เข้ามาทำงานใหม่ ๆ แทบจะไม่รู้ที่ไปที่มาของกฎเกณฑ์ต่าง ๆ  และไม่มีระบบการ training/mentoring ที่ดีเท่าไหร่ อาศัยถามเพื่อนนักวิจัยด้วยกัน ในสถาบันอื่น ๆ ซะมากกว่า

ความสำคัญของการมี mentor (เป็นการอบรมรุ่นแรก ๆ ที่จัดโดย มม.)









ปัจจัยอะไรที่ทำให้ นวจ ประสบความสำเร็จ?


ว่าด้วยเรื่องความโปร่งใสของการขอทุน ทำไมถึงมี complain แบบนี้?

Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2024-05-05)

SUSA Thailand - Sustainable University? (update 2023-06-23)

Genome editing technology short note