Note: Healthy Aging - เกิด แก่ (ไม่) เจ็บตาย สูงวัย อย่างมีคุณภาพ
- เพิ่งอ่านหนังสือเล่มนี้จบก็เลยกะว่าจะเขียนโน๊ตกันลืมไว้ เพราะเป็นหนังสือที่ยืมมาจากห้องสมุด อ่านง่าย และรวบรวมงานวิจัยที่ย่อยง่าย สำหรับคนเขียน (ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ) ได้ทดลองเอามาปฏิบัติ
- Goal คือ ทำให้เกิด compression of morbidity ให้ดีที่สุด เพื่อลดภาระต่อสังคมและคนรอบข้าง
- สองเว็บไซต์ที่กะว่าจะไปหาความรู้ต่อคือ
1. Dr. David Sinclair (https://sinclair.hms.harvard.edu/)
2. Dr. Leonard Guarente (https://biology.mit.edu/profile/leonard-p-guarente/)
พฤติกรรมที่น่าจะนำไปสู่ healthy ageing
1. กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ (เข้าใจว่างานพวกนี้น่าจะมาจากงานวิจัยแบบ association studies ซะเยอะ ดังนั้นต้องติดตามไปเรื่อย ๆ ว่าอาหารแบบไหน ส่งผลอย่างไรบ้างต่อร่างกาย และทำการทดลองในกลุ่มประชากรแบบไหน)
- และให้กินน้อย ส่วนตัวเลือก time-restricted feeding (8/16) และทดลองอดอาหารบ้าง
- ทานผักมากและหลากหลาย, ทานผลไม้หลากสี หลากชนิด, ทานอาหารธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี, เลือกโปรตีนที่ดีต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงเนื้สัตว์แปรรูปชนิดต่าง ๆ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล จำกัดการบริโภคนม 1-2 แก้วต่อวัน ใช้น้ำมันทำอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันคาโนลา ไม่ใช้น้ำมันทรานส์/หลีกเลี่ยงเนย
- หลีกเลี่ยงน้ำตาล
2. ออกกำลังกาย
- แนะนำการออกกำลังให้หัวใจเต้นเร็วบ้าง (aerobic exercise) - 1 hr/week
- Regular exercise - 3-4 hr/week
3. รักษา BMI ให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ
4. ดื่มไวน์แดงแต่พอดี (ไม่เกิน 1 แก้วต่อวัน สำหรับ ผญ และ ไม่เกิน 2 แก้ว สำหรับ ผช)
5. ห้ามดูดบุหรี่
6. หลับ
- ควรหลับให้ได้ 7-8 hr
- deep sleep (level 4) 1 hr 50 min/night and REM 1 hr 50 min/night
- หลับดี ลดความเสี่ยงในการเกิดสมองเสื่อม เบาหวาน โรคหัวใจ
- ตอนหลับลึก จะช่วยให้ระบบ Glymphatic system ทำงานได้ดี เป็นระบบที่ชำระของเสียออกจากสมอง
- เข้าใจ circadian rhythms หรือนาฬิกาชีวิต (not a night owl) -- the circadian code book; should explore more, it might be too generalized.
12.00AM -- midnight
2:00AM -- deep sleep
4:30AM -- Body's lowest temperature
6.45AM -- Blood pressure arise quickly
8.30AM -- Intestinal contractions
10.00AM -- Body the most alert
12.00PM -- midday
2.30PM -- best body coordination
3.30PM -- best response for the body
5.00PM -- cardiovascular the most functional efficiency, the most powerful muscles
6.30PM -- The peak of blood pressure
7.00PM -- The highest body temp.
9.00PM -- Melatonin production
10.30PM -- Less intestinal mobility
7. อาหารเสริม (ใช้วิจารณญาณ) -- หลักการคือการเพิ่ม ปริมาณ NAD+ ให้กับเซลล์ ซึ่งเขาพบกว่าปริมาณ cofactor ตัวนี้มันลดลงใน ageing cells
- Tru niagen -- nicotinamide riboside (precursor of niacin - B3)
- NMN -- nicotinamide mononucleotide
- Resveratrol -- extracted compound from the skin of red grapes
- Pterostilbene -- extracted compound from Blueberry
- สารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่าง ๆ -- ยังไม่แน่ใจว่ามีส่วนช่วยอย่างไร
- การเพิ่มความยาวเทโลเมียร์ ก็ยังมีความไม่ชัดเจน -- ส่วนตัวเข้าใจว่าต้องกำจัด senescence cell ออกไปก่อน เพราะเซลล์พวกนี้มีแต่ mutations ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเมื่อถูกกระตุ้นให้แบ่งตัวขึ้นมาไม่ว่าด้วยกลไกใด ๆ ก็ตาม
7. แนวทางการรักษาที่เกี่ยวกับความชรา -- เป็นแค่แนวทาง ยังคงต้องติดตามไปเรื่อย ๆ ว่าจะช่วยได้มากน้อยแค่ไหน และกับกลุ่มคนประเภทไหน
- Metformin -- TAME (Targeting Aging with Metformin)
- Rapamycin -- ออกฤทธิ์ที่ mTOR เป็น key player in cellular metabolism
- Getting rid of senescent cells
- NAD+, SIRT, mitochondria -- ตรงนี้ไม่ get แปะไว้เพื่อไปหาข้อมูลก่อน
สำหรับ SIRT ตัวที่สำคัญสุดคือ SIRT1,3,6 (แต่จริง ๆ แลัวมีอยู่ 7 ตัว)
NAD+ จะสั่งการทำงาน SIRT1 ให้มีการทำงาน ระหว่างนิวเคลียส กับไมโตคอนเดรียอย่างสอดคล้องกัน
แต่ NAD+ มีปริมาณลดลง เมื่ออายุมากขึ้น ดังนั้นการเพิ่มปริมาณเข้าไป ผ่านทางการรับประทานตัว precursor จึงน่าจะช่วย reverse ได้
--
โหมดบล็อกเก่า ๆ
Blog เก่า ๆ ว่าด้วยเรื่องของ ageing
https://t-lerksuthirat.blogspot.com/2021/03/note-protecting-aging-genome.html
https://t-lerksuthirat.blogspot.com/2018/05/the-dna-damage-response-in-human.html
Blog เก่า ๆ ว่าด้วยเรื่องของ การนอน และนาฬิกาชีวิต (circadian rhythm)
https://t-lerksuthirat.blogspot.com/2022/10/circadian-medicine-quality-of-life.html
https://t-lerksuthirat.blogspot.com/2022/12/note-how-to-wake-up-early-even-if-you.html
https://t-lerksuthirat.blogspot.com/2022/12/worldwide-experiment-platform.html
Comments
Post a Comment