Posts

Showing posts from December, 2022

Note: Proteomic and Glycosylation Analysis of Biotherapeutic Proteins (hosted by -BRIC)

Image
Note: Proteomic and Glycosylation Analysis of Biotherapeutic Proteins Webinar hosted by : Bioprocess Research and Innovation Centre (BRIC) Application of mass spectrometry to Biopharma https://www.ema.europa.eu/en https://www.ema.europa.eu/en/human-regulatory/research-development/scientific-guidelines/biologicals/biologicals-active-substance#manufacture,-characterisation-and-control-of-the-active-substance-section ตัวอย่างที่เขายกมาคือ monoclonal antibody ก็คือ ต้องโชว์ว่าโคลนตัวนี้สามารถที่จะผลิต protein ที่เหมือนกับ genetic materials หรือเปล่า และแต่ละลอตมีปัญหาหรือเปล่า สิ่งที่เราอ่านก็คือ peptide map แล้วเอามาเทียบกันในแต่ละลอต IgG – glycosylated protein – glycan on the protein must be characterized, depending on the cell types you are using – glycosylation pattern is very different in each cell type. Heterogeneity มี micro and macro Micro ต่างกันที่ side chain นิดเดียว Macro ต่างกันที่ pattern ที่ไป glycosylate เลย ขึ้นอยู่กับว่าเราจะดีเทคแบบไหน วิธีดีเทคแต่ละแบบก็จะ consume เวลา ...

Note: chronochemotherapy

Image
- เอามาจาก the scientist - ร่างกายของคนเราปกติแล้วจะ align with external environment, esp. light, temperature หรือแม้กระทั่ง meals - ยกตัวอย่าง light เข้ามากระทบ retina ส่งสัญญาณไปที่ Suprachiasmatic Nucleus (SCN) ซึ่งเป็น core circadian clock ในร่างกายของเรา หลังจากนั้น core clock ก็จะส่งสัญญาณไปที่อวัยวะต่าง ๆ ให้ทำงาน align กัน เพื่อตอบสนอง light-dark cycle - การที่เรามีพฤติกรรมที่ ไม่สอดคล้องกับ biological clock ก็จะทำให้ร่างกายเรารวน และมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ขึ้นได้ เช่น โรคนอนไม่หลับ หรือโรคที่เกี่ยวกับปัญหาการนอนหลับ โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดตีบ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หรือแม้กระทั่งโรคทางด้านจิตประสาท และมะเร็ง - เพราะการดำเนินชีวิตที่ไม่สอดคล้องกับ biological clock ทำให้ metabolism เราผิดเพี้ยนไปจากเดิม และรักษา homeostasis ได้ค่อนข้างยาก - ซึ่งจากหลักการข้างต้น ถ้าเรามีความเข้าใจว่าในแต่ละช่วงเวลา ร่างกายของเรามีการทำงานอย่างไร เราสามารถที่จะเลือกช่วงเวลาการใ้เคมีบำบัดอันจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และลดผลข้างเคียงลงได้ เพราะในแต่ละช่วงเวลาร่างกายมี me...

Note: How to wake up early, even if you are a night owl!

How to wake up early, even if you are a night owl! NPR - Life Kit : Health  Rerun episode:   Kavitha George – host of Alaska public media  – she is responsible for this episode of podcast in Life Kit (NPR) เริ่มด้วยคำถาม ทำไมการตื่นเช้าจึงน่าจะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ – ซึ่งมันมีการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนตื่นเช้า กับประสิทธิภาพต่าง ๆ เช่น เกรดที่ได้จากการเรียน การติดแอลกอฮอล์ ภาวะซึมเศร้า หรือการเกิดอุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนต์ จากการศึกษาพวกนี้ พบว่า คนที่เป็น morning person น่าจะมี potential ในการได้เกรดที่ดี ติดแอกอฮอล์ต่ำ ไม่ค่อยมีภาวะซึมเศร้า หรือแม้กระทั่งการเกิดอุบัติเหตุเกี่ยวกับยานยนตร์ก็ค่อนข้างน้อย มาแนะนำ อ. แพทย์ที่ทำงานทางด้าน Sleep medicine Dr. Katherine M. Sharkey  – Associate Professor of Psychiatry and Human Behavior at the Alpert Medical School of Brown University ซึ่งอธิบายได้ง่าย ๆ ถึงคำตอบต่อคำถามข้างต้นว่า คนที่เป็น night owl ส่วนใหญ่นั้นจะพักผ่อนไม่ค่อยเพียงพอ ทำให้ performance ไม่ค่อยดีเท่าที่ควร เมื่อเทียบกับคนที่เป็น morning lark Things t...

Note: Deciding When to Use PARP Inhibitors, and Which One

 บทความเก่า แต่เอามาเขียนสรุปสำหรับความเข้าใจตัวเอง https://www.ajmc.com/view/deciding-when-to-use-parp-inhibitors-and-which-one โดยรวม - เป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้ PARP1 inhibitor ว่าควรจะใช้เมื่อไหร่ ให้กับคนไข้ประเภทไหน และต้องข้อบ่งชี้อะไรบ้างก่อนที่จะให้ PARP1 inhibitor เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - โฟกัสมะเร็งรังไข่ - เนื่องจากตอนนี้มี PARP1 inhibitors อยู่ 3 ตัว ที่อยู่ในการทดลองระดับคลินิค 1.olaparib 2.rucaparib 3.niraparib - ยาทั้ง 3 ตัวมีโครงสรางทางเคมีต่างกัน และให้ประสิทธิผล และผลข้างเคียงที่ต่างกัน ดังนั้นจึงมีคำถามว่า 1. ควรให้ PARP1 แก่คนไข้ประเภทไหนดี 2.ควรจะให้เมื่อไหร่ 3.อะไรเป็นตัวบ่งชี้ (biomarkers) ว่าคนไข้คนนี้ควรจะได้รับ PARP1 และดูว่า PARP1 มีประสิทธิภาพในการรักษาแค่ไหน 4.ควรให้ PARP1 inhibitors ตัวไหน - การตัดสินใจว่าเมื่อไหร่จะใช้ PARP1 inhibitors -- ดูจากเรื่องการซ่อมแซมดีเอ็นเอของตัวเซลล์ - HR (homologous recombination) เป็นกระบวการหนึ่งในการซ่อมแซมดีเอ็นเอหักแบบสายคู่ (DNA double strand break repair) ซึ่งป้องกันเซลล์ปกติไม่ให้เกิดการกลายพันธุ์จนกระทั่ง...

Worldwide experimental platform

Image
 https://thewep.org/  (MCTQ) I know this from coursera:  Circadian clocks: how rhythms structure life Ludwig-Maximilians-Universität München (LMU) The course was conducted by two professors: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/?term=Roenneberg+T&cauthor_id=26196479 https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/?term=Merrow+M&cauthor_id=34816105 The course goes from the big picture to the molecular level. Learning the new terms related to chronobiology. 

AKI and leaky gut theory (MS reading)

Image

Note: PARP1i and ATRi combination in TK6 model (reading MS)

Image