Childhood cancer overview (public health)

เนื่องจากต้องทำงานกับกลุ่มงานวิจัยนี้ เลยลองหาข้อมูลคร่าวๆ หน่อยว่าทั่วโลกเขาจัดการโรคนี้ยังไงบ้าง
และงานในเชิง public health ที่เขียนเกี่ยวกับโรคนี้ได้เขียนให้ข้อมูลอะไรไว้บ้าง

รุ่นอายุเด็ก กับวัยรุ่น แบ่งได้สองช่วง

0-14 ปี

15-19 ปี












Source: https://www.healthychildren.org/English/health-issues/conditions/cancer/Pages/Childhood-Cancer.aspx


ชอบบทความวิเคราะห์อันนี้มากที่สุด



บทคัดย่อ

  • Underrepresented in low- and middle-income country - LMIC (ตัวเลขน้อยกว่าความเป็นจริง เพราะ

            ดีเทคตามระบบไม่ได้)
  • 80% ของเด็กที่เป็นมะเร็งในประเทศที่พัฒนาแล้ว -- ได้รับการรักษาจนกระทั่งหายดี

  • แต่ใน LMIC -- อัตราการรักษาหายน้อยมาก (ไม่ระบุเปอร์เซนต์) โดยที่เขาสรุปสาเหตุว่า

    • Need for specialized care center (เอาเข้าจริง healthcare center ดี ๆ ก็จะกระจุกตัว

                        อยู่ตามเมืองใหญ่ ๆ หรือพูดง่าย ๆ คือ infrastructure เหล่านี้ไม่ค่อยดี แล้วถ้าประเทศไหน
                        คอรัปชั่นเยอะก็จะยิ่งชิปหายเข้าไปใหญ่) 
    • Shortage of essential chemotherapy

  • Twinning program between HIC and LMIC -- โชว์ประสิทธิภาพในการรักษาได้ค่อนข้างดี ตัวอย่าง

            report: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5608088/
  • Avoiding overtreatment is crucial in LMIC (เพราะ budget น้อย เหมือนกับ HIV เลย --

            ต้องคิด regiment ที่ประหยัดที่สุด แต่ให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด ในประเทศที่การเงินค่อนข้างจำกัด)
            และให้ไปเน้นในเรื่องของการปรับเปลี่ยน protocol ในการรักษาแทน
  • เอาเข้าจริงแล้วดูเหมือนการละเลยการรักษาเป็นอุปสรรคชิ้นใหญ่ในการรักษาโรคมะเร็งในเด็ก

            ซึ่งเรตในการละเลยการรักษามีตั้งแต่ 3-74%
  • Most common childhood cancers -- ที่จะเอามาวิเคราะห์สำหรับการวินิจฉัย การรักษา และค่าใช้จ่าย

            ในการรักษา
    • Acute lymphoblastic leukemia, 

    • Hodgkin lymphoma, 

    • Wilms tumor, 

    • Burkitt lymphoma

    • Retinoblastoma

  • Cost-effectiveness ควรคำนึงถึงปัจจัยในเรื่อง

    • Lower intensity treatment regimens

    • Expanding the resource pool

    • Appealing to justice, equity, and social value of child's lives

Source: http://dcp-3.org/chapter/900/treating-childhood-cancers-low-and-middle-income-countries

จาก book chapter

















ดูความสัมพันธ์ระหว่าง เรตในการเกิดมะเร็งในเด็ก ดันไปมีความสัมพันธ์กับรายได้ต่อหัว -- ประเทศแถบแอฟริกา

incidence เรตต่ำมาก เดาว่าเด็กคงเสียชีวิตไปหมด (น่าจะเป็นกลุ่มพวก low income ที่ตกอยู่ในกลุ่มนี้)

ไม่มีนักวิจัยหรือนักวิทย์เลย เพราะการเข้าถึงการรักษาคือ top priority รีเซิร์ชในเชิง molecular mechanisms

อาจจะทำทีหลัง หรือ along the way ..





















































































































































ไม่มีประเทศไทยแฮะ ทั้ง ๆ ที่เคสมะเร็งเด็กบางชนิด incidence rate in Thialand ค่อนข้างสูง อาจจะจัดอยู่

ในประเทศที่สามารถช่วยเหลือตัวเองแล้วได้ ก็ได้มั้ง





งานนี้ published in the year 2015 (2015-11-12 as indicated in the website)

WHO -- Childhood cancers -- site update 12 Feb 2021

Source: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/cancer-in-children

  • แต่ละปีจะมีเด็กที่เกิดมาด้วยมะเร็ง ประมาณ 400,000 คน

  • โรคมะเร็งในเด็กที่เจอเยอะที่สุด คือ

    • leukemias

    • Brain cancers

    • Lymphoma

    • Solid tumours

      • Neuroblastoma

      • Wilms tumour

  • High-middle income countries

    • 80% are cured

  • Low- and Middle income countries

    • 14-45% are cured

  • การป้องกันมะเร็งในเด็กโดยปกติแล้วจะไม่สามารถทำการป้องกันหรือรักษาได้โดยผ่านการสกรีนนิ่ง

            (ข้อบ่งชี้อันนี้ไม่แน่ใจว่าหมายถึงไม่สามารถทำได้ในขณะอยู่ในครรภ์ หรือว่าอย่างไร)

  • มะเร็งในเด็กส่วนใหญ่ สามารถรักษาได้จาก generic medicines และการรักษาในแบบอื่น ๆ เช่น





























การผ่าตัด หรือรังสีรักษา -- เขาสรุปว่าการรักษามะเร็งในเด็กสามารถทำได้อย่างคุ้มค่า ไม่ว่าแต่ละประเทศ

         จะมีรายได้เท่าไหร่ก็ตาม (ดูเหมือนว่า การเข้าถึงการรักษาจะเป็นประเด็นใหญมากกว่าการค้นหาตัวยา
         ใหม่ ๆ ในการรักษาโรคมะเร็งในเด็ก?) --  เอาเข้าจริงพอได้ไปอ่านงานทางด้าน urology ปรากฎว่า
         oxidative stress มีผลต่อการเกิด mutation in sperm ทำให้เด็กนั้นมีความเสี่ยงที่จะเกิดมะเร็งได้
  • เพื่อที่จะลดอัตราการตายของเด็กที่เป็นมะเร็งในประเทศกลุ่ม LMIC (ซึ่งรวมถึงประเทศไทย) --

            ไม่มีการวินิจฉัยโรค หรือวินิจฉัยผิด/ช้า มีอุปสรรคในการเข้าถึงการตรวจ การละเลยต่อการรักษา
            เสียชีวิตจากความเป็นพิษของการรักษา และมีอัตราการเกิดมะเร็งอีกรอบค่อนข้างสูง
  • การจัดการทางด้านข้อมูลของมะเร็งเด็กมีความจำเป็นอย่างมาก ในการที่จะขับเคลื่อนการพัฒนาการ

               ดูแลทางด้านสุขภาพของเด็ก และเพื่อใช้ในการวางแพลนในการตัดสินใจระดับนโยบาย

พอมาอ่านดูบทความจาก WHO เหมือนกับว่าไม่จำเป็นต้องทำงานวิจัยแบบราคาแพง ๆ ก็ได้ แต่ต้องไปปรับปรุง infrastructure ให้ดี ๆ วินิฉัยโรคได้อย่างถูกต้อง และทำให้ healthcare มันเข้าถึงทุกกลุ่มประชากรให้ได้มากที่สุด เพื่อที่จะได้เริ่มการรักษาอย่างทันกาล

จริง ๆ แล้ว WHO ก็ตั้งเป้าไว้ว่าอัตราการรอดควรจะได้อย่างต่ำประมาณ 60% ภายในปี 2030 (9 ปีหลังจากเริ่มสรุปในบล็อก)


Source: https://www.stjude.org/global/collaborating-to-cure/global-initiative.html





Theme SDG and Childhood cancers




Global goal to cure childhood cancers:

https://cdn.who.int/media/docs/default-source/documents/health-topics/cancer/

who-childhood-cancer-overview-booklet.pdf?sfvrsn=83cf4552_1&download=true


ไม่มีประเทศไทย ทั้ง ๆ ที่งานในฟิวนี้บ้านเราค่อนข้าง active เดาว่าเราเป็นประเทศ upper middle income และ

สามารถช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว






Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2025-01-10)

Odd ratio - อัตราส่วนของความต่าง

Note: A Road to Real World Impact (new MU-President and Team) - update 12 Sep 2024