Posts

Showing posts from July, 2023

Note: Big Data Management for Genomics Thailand (SI - Strategic Resesearch Forum)

Talk by Dr. Sissades Tongsima (National Biobank of Thailand) Understanding risk – > can aid us in making important life decisions to have a good health Thai-mutation database Biobank – MoPH Sequencing facility – ThaiOmics – private company run through BGI Computational infrastructure from NSTDA Operational plan Recruit patients Draw Blood sent to MoPH –  extract DNA with standard protocol DNA shift to ThaiOmics (Burapa U.) Send the data to NSTDA – creating tool for users easy to use สิ่งที่เขาเอามาคือ Variation by comparing with GRCh38 Looking at frequency of each variation See further whether it effects the exons, and protein structures As of now (2023-07-17) ~30,000 have been recruited Software Variant @nnotation and prioritization ปกติแล้วจะต้องซื้อเขาเอา – หลัก ๆ คือ เอา variants ที่น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับโรค เอาออกมา – โดยดูในเรื่องของ sequence alignment, see whether they are conserved – this step requires expert domain to interpret and feedback the platform Cancer Targeted se

Note: Funding for Frontier Research in Medicine (SI - PMUB)

 Dr. Chatchai -- > food cluster// Dr. Sompong --> medicine - Using integrative knowledge   - Bioinformatics   - Phenomics   - Genetic counselor   - Personalized medicine - PMUB -- ถือเป็น strategic fund ดังนั้นต้องมาจากนโยบาย แล้ว recruit หาคนมารับทำ   - must have impact   - must be a team   - top-down policy ซึ่งจะมาจากนโยบายส่วนบนลงมา ดังนั้น ต้อง specific   - ธัชวิทย์ -- จะเป็นการพัฒนาบุคลากร ซึ่งต้องมี goal ที่แน่นอน และจะต้องมีงานรองรับ สำหรับ นศ. ที่จะจบออกมาจากหลักสูตรนี้ (เราว่ามันซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยมาก) -- เห็นในรายงานสภามหาวิทยาลัยของ มม. มีความพยายามที่จะให้ออกใบปริญญาจาก มม แต่โดนปัดตกไปเพราะว่าหลักสูตรยังจัดทำไม่เรียบร้อยดี   - Demand push เช่น specific food, medicinal food (การกินอาหารให้เป็นยา ทั้งเรื่อง prevention, protection, treatment) หรือโครงการ genomic Thailand (precision medicine) หรือจะออกแนว ๆ precision nutrition   - Green technology -- เพื่อที่จะลดผลกระทบของ Climate change   - PMUB -- มี 3 แบบ     - open call ประกาศทั่วไป     - commission -- เป็น consor

Note: ข้อความจากหมอคนนึง ถึงรัฐบาลใหม่ (Dr.Tany)

Image
  สมการที่ดูเหมือนง่าย แต่ไม่ง่าย กับการพัฒนาระบบ สธ. ในเรื่องของ จน.หมอไม่พอ เพิ่มจำนวนหมอ ลดจำนวนคนไข้ -- > หมอพอ ลดจำนวนคนไข้ - ส่งเสริมสุขภาพให้คนป่วยน้อยลง (primary prevention) ทำได้อย่างไรบ้าง 1. ให้ข้อมูลข่าวสารที่มันชัดเจน ถูกต้อง เร็ว ก่อนที่ปัญหาเกิด --  หน่วยงานรัฐบางทีไม่มีความชัดเจนในการให้ข้อมูล, พยายามสื่อสารที่ทำให้ ปชช ไม่ assume แบบผิด ๆ 2. กำจัดข้อมูลที่คาดเคลื่อน และผิด ๆ โดยเฉพาะกลุ่ม influencers ทั้งหลาย  3. กระจาย จน.คนไข้ -- กระจายความเจริญ เพื่อกระจายคน เมื่อกระจายคน ก็จะลดความแออัดของ รพ. หมอดูแลได้ทั่วถึง เพิ่มจำนวนหมอ - เพิ่มยาก แต่ก็พอทำได้ 1. เพิ่มบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ใช่แพทย์ เช่น nurse practitioner/physician assistant ให้ทำงานคล้ายหมอได้ระดับนึง 2. การเรียนแพทย์ -- การศึกษาระดับเบื้องต้นต้องดี แต่ก็ต้องไปดูปัจจัยที่เอื้อให้ครูทำงานได้ดีขึ้น 3. กระจาย รร แพทย์ -- เช็คเรื่องคุณภาพ 4. เปิด ตน. สำหรับ นศพ. มากขึ้นในระบบการศึกษาแพทย์ 5. มีแรงจูงใจที่จะให้ทำให้แพทย์อยู่ในระบบมากขึ้น เช่น เรื่องการอยู่เวรต้องสมเหตุสมผล ค่าตอบแทนสมเหตุสมผล 6. มีการเปิดรับค

Note: Healthy Aging - เกิด แก่ (ไม่) เจ็บตาย สูงวัย อย่างมีคุณภาพ

- เพิ่งอ่านหนังสือเล่มนี้จบก็เลยกะว่าจะเขียนโน๊ตกันลืมไว้ เพราะเป็นหนังสือที่ยืมมาจากห้องสมุด อ่านง่าย และรวบรวมงานวิจัยที่ย่อยง่าย สำหรับคนเขียน (ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ) ได้ทดลองเอามาปฏิบัติ  - Goal คือ ทำให้เกิด compression of morbidity ให้ดีที่สุด เพื่อลดภาระต่อสังคมและคนรอบข้าง - สองเว็บไซต์ที่กะว่าจะไปหาความรู้ต่อคือ 1. Dr. David Sinclair ( https://sinclair.hms.harvard.edu/ ) 2. Dr. Leonard Guarente ( https://biology.mit.edu/profile/leonard-p-guarente/ ) พฤติกรรมที่น่าจะนำไปสู่ healthy ageing 1. กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ (เข้าใจว่างานพวกนี้น่าจะมาจากงานวิจัยแบบ association studies ซะเยอะ ดังนั้นต้องติดตามไปเรื่อย ๆ ว่าอาหารแบบไหน ส่งผลอย่างไรบ้างต่อร่างกาย และทำการทดลองในกลุ่มประชากรแบบไหน) - และให้กินน้อย ส่วนตัวเลือก time-restricted feeding (8/16) และทดลองอดอาหารบ้าง - ทานผักมากและหลากหลาย, ทานผลไม้หลากสี หลากชนิด, ทานอาหารธัญพืชที่ไม่ผ่านการขัดสี, เลือกโปรตีนที่ดีต่อสุขภาพ หลีกเลี่ยงเนื้สัตว์แปรรูปชนิดต่าง ๆ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล จำกัดการบริโภคนม 1-2 แก้วต่อวัน ใช้น้ำมันท

ว่าด้วยเรื่อง - บริหาร มหา'ลัยไทย ด้วยข้อมูลอันดับ มหา'ลัยโลก

Image
  1. การจัดอันดับมันย่อยง่ายสำหรับคนที่จะเลือกมหาวิทยาลัยที่จะเรียน 2. เพราะการศึกษาคือการลงทุน ทั้งเงิน และทั้งเวลา 3. แต่อย่างไรก็ตาม การจัดอันดับ มันก็ไม่ได้สะท้อนอะไรในหลาย ๆ มิติ 4. การจัดอันดับ มองได้ว่าเหมือนเข็มทิศ แล้วแต่ว่าคนจัดอันดับใช้เกณฑ์อะไร 5. ม.วิจัยในไทย ยังไงก็ต้องอยู่ร่วมในการจัดอันดับ เพราะไม่งั้นจะมีผลต่อ นศ. ที่จบไปแล้ว ดันไม่เป็นที่รู้จัก หรือ กศษ ไม่เป็นที่ยอมรับ 6. จะเข้าร่วม หรือไม่เข้าร่วม แล้วแต่ว่า ม. มีทิศทางที่ชัดเจนหรือเปล่า เป็นหน้าที่ของ ผบห ม. ที่ต้องทำการสื่อสารคนในองค์ให้มีความเข้าใจถึงวิสัยทัศน์ขององค์กร -- บทความอีกด้าน -- ความเห็นส่วนตัว - ทุกปีมีการทำการประเมิน engagement แต่ไม่เคยเห็นรายงานโดยรวม - มีการทำการประเมินในระดับบริหาร แต่ก็ไม่เห็นรายงานการสรุปส่งมาทางอีเมล์ และทิศทางการบริหารที่คาดว่าจะทำให้มันดีขึ้นได้อย่างไร ไม่เหมือนกับตอนที่ขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามที่อีเมล์จะมาถึงทุกคน - ตอนนี้อันดับตกลงมาเรื่อย ๆ แต่จะทำอย่างไรให้ดีขึ้น หรือจะเปลี่ยนแปลงระบบบริหารอย่างไรให้ไต่อันดับขึ้นมาได้ ยังไม่แน่ชัดเลย