Cross-multidisciplined research - MU-SSHA
Note จาก MU-SSHA และกองบริหารงานวิจัย ร่วมกับงาน Mahidol Quality Fair 2023 ** ได้ยินครั้งแรกจากการไปอบรม เสริมสร้างศักยภาพ นวจ จัดโดย กองวิจัย มม. เป็นกลุ่มที่ active มาก และเอาจริงเอาจัง กับการทำงานข้ามศาสตร์ โจทย์ตอนนี้ เท่าที่บรรยายโดย ผอ. สกสว. โจทย์วิจัย ต้องนำไปช่วยในการพัฒนาทุกมิติ ดังนั้น สกสว จึงพยายามที่จะให้หน่วยงานในสังกัด ไปในแนวทางเดียวกัน โดยเอาโจทย์ของทางสังคมเป็นตัวตั้ง ซึ่งไม่ง่าย เพราะต้องมีการวิเคราะห์อย่างลุ่มลึกพอสมควร ไม่งั้นแล้วจะแก้ปัญหาผิด เช่น การวิเคราะห์ปัญหา PM2.5 ที่ไม่ได้เกิดจากการเผาอย่างเดียว แต่เกิดจากปัจจัยอย่างอื่น ๆ ด้วย ซึ่งตรงนี้มีผลต่อการให้ทุน การวิจัยแบบ basic science มันจะตอบโจทย์เพียงแค่โจทย์เดียว แต่ตอนนี้ต้องการจะแก้ปัญหาของสังคม ดังนั้นจะต้องทำงานข้ามศาสตร์ ซึ่งตอนนี้ต้องการจะเน้นทางด้านนี้ Multidisciplinary vs Transdisciplinary research แหล่งทุนทำอะไรบ้าง ววน. มีเครื่องมือที่สำคัญ คือ กำหนดทิศทางการวิจัย (การวาง framework) ทำกรอบ อววน. โดยเอา megatrend เข้ามา มองเรื่อง area need โดยใช้ SDG เป็นกรอบ แยกเป็นประเด็นที่ต้องการแก้ปัญหา เพื