Cross-multidisciplined research - MU-SSHA

Note จาก MU-SSHA และกองบริหารงานวิจัย ร่วมกับงาน Mahidol Quality Fair 2023

** ได้ยินครั้งแรกจากการไปอบรม เสริมสร้างศักยภาพ นวจ จัดโดย กองวิจัย มม. เป็นกลุ่มที่ active มาก และเอาจริงเอาจัง กับการทำงานข้ามศาสตร์





















โจทย์ตอนนี้ เท่าที่บรรยายโดย ผอ. สกสว.

  • โจทย์วิจัย ต้องนำไปช่วยในการพัฒนาทุกมิติ

  • ดังนั้น สกสว จึงพยายามที่จะให้หน่วยงานในสังกัด ไปในแนวทางเดียวกัน โดยเอาโจทย์ของทางสังคมเป็นตัวตั้ง ซึ่งไม่ง่าย เพราะต้องมีการวิเคราะห์อย่างลุ่มลึกพอสมควร ไม่งั้นแล้วจะแก้ปัญหาผิด

    • เช่น การวิเคราะห์ปัญหา PM2.5 ที่ไม่ได้เกิดจากการเผาอย่างเดียว แต่เกิดจากปัจจัยอย่างอื่น ๆ ด้วย ซึ่งตรงนี้มีผลต่อการให้ทุน

  • การวิจัยแบบ basic science มันจะตอบโจทย์เพียงแค่โจทย์เดียว

  • แต่ตอนนี้ต้องการจะแก้ปัญหาของสังคม ดังนั้นจะต้องทำงานข้ามศาสตร์ ซึ่งตอนนี้ต้องการจะเน้นทางด้านนี้

  • Multidisciplinary vs Transdisciplinary research



  • แหล่งทุนทำอะไรบ้าง

    • ววน. มีเครื่องมือที่สำคัญ คือ 

      • กำหนดทิศทางการวิจัย (การวาง framework)

      • ทำกรอบ อววน. โดยเอา megatrend เข้ามา

      • มองเรื่อง area need โดยใช้ SDG เป็นกรอบ

      • แยกเป็นประเด็นที่ต้องการแก้ปัญหา เพื่อที่จะเสนอสำนักงบประมาณ
























  • ยุทธศาสตร์ 1-2 ถือว่าเป็น agenda เร่งด่วนในการที่จะแก้ปัญหา 

  • ยุทธศาสตร์ 1 และ 2 แต่ละตัวจะให้งบ 1/3 (ให้แต่ละยุทธศาสตร์ เท่า ๆ กัน)

  • ยุุทศาสตร์ 3 และ 4 จะรวมกันเป็น 1/3













































  • การเป็นโปรเจคที่อยู่ใน flagship – หมายถึงจะมีงบลงมาเยอะ
























  • FF

    • ให้แบบ block grant

    • มหาวิทยาลัยต้องคิดเองว่าจะให้กับ หน่วยงานไหน ขึ้นอยู่กับการวางเป้าหมายของแผนงาน

    • สกสว. จะกระตุ้นให้หน่วยรับงบประมาณออกแบบแผนงาน

  • SF

    • ให้เป็นแบบ block grant

    • ดำเนินการตามแผนโดย PMU

    • ปัญหาตอนนี้ การออกแบบไม่ค่อยดี ทำให้ไม่สามารถที่จะ delivery ตามเป้าได้



– 

Keywords ของ อ.ภัทรชัย

  • มหิดลทำอะไรให้กับสังคมบ้าง การที่เราไปบอกว่าได้ตีพิมพ์จำนวนเท่านี้แล้วไงต่อ เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างไรที่ดูแล้วเป็นรูปธรรม

  • ดังนั้น เลยมีความพยายามที่จะเอาสิ่งที่มีอยู่แล้วไปขับเคลื่อน การแก้ปัญหาทางสังคม เพื่อที่จะปิดช่องว่างระหว่าง มหาวิทยาลัย และสังคม/ชุมชน

ถอดบทเรียนจาก อ. กิตติชัย – college of management

  • งานข้ามศาสตร์ ไม่ง่าย แต่ก็ไม่ยาก

  • Leadership เป็นสิ่งสำคัญในการที่จะ convince ผู้ร่วมโครงการท่านอื่น ๆ ในสาขาต่าง ๆ กันเข้ามาร่วมงาน

  • เลือกคนที่มีเคมีตรงกันเป็นสิ่งสำคัญมาก – สิ่งที่อ.ทำคือเข้าไปดูในเว็บไซต์ของคณะต่าง ๆ และดู CV ของแต่ละท่าน และโทรไปพูดคุยถึงโครงการที่ อ.จะทำ

  • Win-Win situation จะทำให้คนมีการทำงานร่วมกัน

  • หัวหน้าโครงการ ตามงานในแต่ละทีม ตามระยะเวลาที่ได้กำหนดไว้ เพื่อให้งานเดินหน้า และเป็นไปตามเป้าหมาย

  • การมีเครือข่ายเป็นเรื่องสำคัญ ในการติดต่อเพื่อให้ได้ข้อมูล และมาแก้ปัญหาได้ตรงจุด การได้ partner ที่ดีมีเครือข่ายช่วยได้มาก

Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2025-01-10)

Odd ratio - อัตราส่วนของความต่าง

Note: A Road to Real World Impact (new MU-President and Team) - update 12 Sep 2024