Introduction to statistics (Recap) - part 1

 This is from datacamp learning

  • Statistics can tell you the possibility but it cannot answer everything since it is the prediction based on data and developed models.


Type of statistics

  • Descriptive statistics (explaining the past)

    • Describe the data or summarize the data

    • Say how many papers are being published in each year from each faculty or how many black and white cats around this neighborhood.

  • Inferential statistics (predicting the future)

    • Using the sampling approach to describe a larger population

Types of data

There are 2 main types of data

  • Numeric (quantitative)

    • Continuous (measured) -- temperature, car speed

    • Discrete (count) -- count on particular type of subject

  • Categorical (qualitative)

    • Nominal (unordered)

      • Active or Inactive

    • Ordinal (ordered)

      • Sequentially -- evaluation in survey (good, fair, poor)

Things need to be concern

  • Data type thus we can pick the right statistical tools to summarize and visualize the data

















Measures of center

Mean, median, mode (the most frequent data)

Mean -- the most sensitive measurement to the most extreme values. Thus, it is suitable for use with symmetrical distributions.

Skewed data -- asymmetrical distribution, thus median is usually better use.


Left skewed





ถ้าลักษณะของตัวของมูลมีการกระจายตัวแบบไม่สมมาตรกัน ค่ามีนจะถูกดึงไปด้านที่เป็น extreme value ทำให้ค่ามีนเป้นตัว represent data ที่ไม่ค่อยดี จึงนิยมใช้ median ส่วนใหญ่จะเห็นได้บ่อย ๆ ในปเปอร์ที่เกียวข้องกับการทำ clinical trial -- เช่น ลักษณะการกระจายของอายุประชากร


Right skewed


ค่าอะไรที่เป็นตัวบ่งบอกว่าข้อมูลมีลักษณะสมมาตร กับไม่สมมาตร -- ความสัมพันธ์ของค่ามีนกับมีเดี่ยน

Mean = Median -- การกระจายของข้อมูลมีความสมมาตรกัน

Mean < Median -- การกระจายตัวของข้อมูล ความถี่จะไปสะสมอยู่ทางขวาเยอะ แต่ทางด้านซ้ายความถี่จะน้อย

ถ้าเอามา apply ดูกล่มอายุของประชากร ก็อาจจะบอกได้ว่า การกระจายตัวของกลุ่มประชากรที่เราเก็บตัวอย่างมานั้น มีลักษณะการกระจายตัวอย่างไร
















Source: https://www.dummies.com/education/math/statistics/how-to-identify-skew-and-symmetry-in-a-statistical-histogram/



Measure of spread

การกระจายตัวของข้อมูล ซึ่งมีค่าหลายค่าที่บ่งบอกถึงการกระจายตัวของข้อมูล

  • Variance

  • ถ้าดูจากสูตรมันมาจากการจัดการกับตัวเลข เพราะมีการยกกำลัง 2 ดังนั้นเมื่อ visualize ในหัวอาจจะลำบากนิดนึง

  • Standard deviation

- ค่า variance ถอดสแควรูต

  • Mean absolute deviation

  • Quartile

  • แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนอย่างละเท่า ๆ กัน โดยส่วนใหญ่ boxplot จะใช้อันนี้

  • Interquartile range (IQR)

  • เป็นการวัดระยะห่างระหว่าง 25th กับ 75th (พูดง่าย ๆ คือ เป็นความสูงของตัว boxplot) -- ดูเหมือนว่าเป็นการดูการกระจุกตัวของข้อมูลบริเวณตรงการของ quartile จะเป็นค่าที่ ข้อมูล outlier ไม่มีผลต่อการดูค่าการกระจายตัวของข้อมูล แต่สามารถ นำมาหาค่า outlier ได้





Conclusion

Measure of spread

  • Variance

  • Standard deviation

  • Mean absolute deviation

  • Quartile

  • Interquartile range


Measure chance

  • Using possibility (0-100%) -- (impossible - possible)

  • To get the same result after randomly pick -- ในการส่งงานคอมให้สุ่มตัวเลข ต้องทำการ random seed นั่นหมายถึงการบอกให้คอมพิวเตอร์ซุ่มแบบนี้ ในประชากรกลุ่มนี้ เพื่อที่จะนำกลุ่มตัวอย่างไปคำนวน และได้ผลเหมือนเดิม คือ ทุก ๆ ครั้งที่หยิบมา ถ้า random seed number เหมือนกัน ผลของการคำนวนจากกลุ่ม sampling นั้นก็จะเหมือนกัน

  • การซุ่มตัวอย่างก็มีสองแบบ -- ค่าที่ได้ก็จะแตกต่างกัน ยกเว้นว่าตัวอย่างแม่งไม่มี diversity

    • Sampling w/o replacement

      • เลือกมาแล้วเอาออกเลย

      • การสุ่มเลือกแบบนี้ ค่าความน่าจะเป็นของการสุ่มครั้งหนึ่ง จะถูกกำหนดโดยลักษณะการถูกสุ่มก่อนหน้า dependent events

    • Sampling w replacement

      • เลือกมาแล้วเอากลับเข้ามาใหม่

      • การสุ่มเลือกแบบนี้ ค่าความน่าจะเป็นของการสุ่มครั้งหนึ่ง จะไม่ถูกกำหนดโดยการสุ่มก่อนหน้า (ไม่มีผลกระทบ) - independent events

แต่จะเลือกแบบไหน ก็ต้องทดลองทำดูว่าแบบไหน จะให้ possibility ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง (น่าจะเป็นการสร้าง predictive model -- เช่น สุ่มเลือกแบบ sampling w replacement เอามาสร้าง predictive model น่าจะให้ผลค่าหนึ่ง แต่ถ้าเป็นการสุ่มเลือกแบบ sampling w/o replacment เอามาสร้างเป็น predictive ก็น่าจะได้อีกค่าหนึ่ง)








Discrete distribution -- การกระจายตัวของ possibility ของแต่ละเหตุการณ์

  • ใช้ำสำหรับ ตัวแปรที่สามารถนับได้ (countable variable)









































Continuous distribution

  • เหมือนกับเรารอรถเมล์ ซึ่งตัวเวลามันจะมีความต่อเนื่อง ไม่ได้แยกเป็นก้อน ๆ





















ลักษณะการกระจายตัวของ possibility จริง ๆ แล้วมันทีได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวข้อมูล 




























The binomial distribution














ตัว possibility แล้วแต่ว่าลักษณะของเหตุการณ์ เช่น เหรียญจะออกหัวก้อย หรือ ถ้าด้านหัวหนักกว่า โอกาสที่จะออกหัวก็จะมากกว่า ดังนั้น ค่า possibility จะเปลี่ยนแปลงไป -- นั่นคือไม่เท่ากับ 50%












Area under the curve of possibility distribution = 1


















ถ้าเรารู้ลักษณะการกระจายตัวของข้อมูล เราก็สามารถทำนายความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์นี้ได้

การกระจายตัวมีหลายรูปแบบ และแต่ละรูปแบบก็จะมีทฤษฎิในการคำนวน possibility แตกต่างกันไป


Central limit theorem












ถึงแม้ว่าเราไม่สามารถ pick samples ขนาดใหญ่ได้ (จะได้ normal distribution)  แต่การ pick up หลาย ๆ ครั้ง ก็จะได้ค่าใกล้เคียงกับการคำนวนได้จาก population กลุ่มที่ใหญ่ขึ้น





Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2025-01-10)

Odd ratio - อัตราส่วนของความต่าง

Note: A Road to Real World Impact (new MU-President and Team) - update 12 Sep 2024