Advanced Care Plan (มิติการเงิน)











ให้ดูจาก original video แทน ข้างล่างเป็นโน๊ตสำหรับตัวเองตอนที่เรียนออนไลน์ผ่านซูม

Advance care planning

ความต้องการของผู้ป่วย

  • ให้พิจารณาจาก 3 สิ่ง

    • สิ่งสำคัญ

    • สิ่งที่ให้คุณค่า

    • สิ่งที่เราต้องการ


อยู่ดี-ตายดี


มีความอภิรมย์หมายถึงยังมีแรงที่จะช่วยเหลือตนเองได้ แล้วอีกวันหนึ่งก็เสียชีวิตเลย


3 สิ่งนี้

1.สุขภาพ

2.การเงิน

3.ความสัมพันธ์ เป็นสิ่งที่เราสามารถจัดการได้

– ดังนั้นเราสามารถวางแผนชีวิตเราได้เลย


สิ่งที่เราควรทำคือ การมองไปจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตว่าเราจะตายเมือไหร่ เริ่มเจ็บเมื่อไหร่ และแก่เมื่อไหร่ และเราจะทำให้การแก่และการตาย ทุกข์น้อยสุด



 ถ้าประเมินเวลาตายได้อย่างแม่นยำก็จะทำให้มีการเตรียมทรัพย์สินได้ถึงวันตาย การศึกษาที่ดี ไม่ได้หมายถึงการได้รับปริญญา แต่การมีความใฝ่รู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองจะทำให้มีการประเมินอายุการเสียชีวิตได้อย่างถูกต้อง เพื่อที่จะเตรียมตัวตายได้อย่างดี




**ข้อมูลข้างล่างบอกว่า คนที่การศึกษาน้อย เมื่อยามแก่ตัวมักไม่เงินออม และต้องทำงานตอนแก่ด้วย



แต่เราก็หวังพึ่งหารัฐอย่างเดียวไม่ได้แน่นอน เพราะกว่าจะเริ่มอาจจะสายไปแล้ว


ตอนนี้เราสามารถเบิกค่า care giver ได้เดือนละ 6000 บาท และผ้าอ้อมเบิกได้ครั้งละ 3 อันต่อวันแล้ว

ค่า care giver จะส่งผ่าน อบต. และ รพสต. แต่ปัญหามีปัญหาเรื่องที่ปลายทาง โดยเราต้องแจ้งก่อนว่า เรามีผู้ป่วยติดเตียงหรือเปล่า จะมีทีมหมอเวชศาสตร์ครอบครัวมาประเมิน บางพื้นที่จะให้ อสม. ส่งของมาให้


การจัดการชีวิต

  • การดูแลสุขภาพ – ทำตาม Living will

  • การดูแลเรื่องทรัพย์สิน ก็ต้องทำเป็นพินัยกรรมไว้เอง และต้องแจ้งปลายทางไว่ด้วย ว่าเราให้ใคร และถ้าเป็นนิติบุคคลอย่างองค์กรสาธารกุศล เราก็ต้องแจ้งปลายทางด้วย เพราะว่าเขาจะมีผู้แทนนิติบุคคลมาจัดการ

  • https://www.thairath.co.th/news/politic/2733963



ประวัติของ อ.นพพล วิทย์วรพงศ์

Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2024-12-13)

Odd ratio - อัตราส่วนของความต่าง

Note: A Road to Real World Impact (new MU-President and Team) - update 12 Sep 2024