Note: โจทย์เศรษฐกิจ ยุคก้าวไกล เพื่อไทย ศุภวุฒิ สายเชื้อ
ตลาดหุ้นสวิงหลังการเลือกตั้ง
เกิดจากความไม่แน่นอนของการจัดตั้งรัฐบาล
ตลาดหุ้นไม่ชอบความไม่แน่นอน
อดีตที่ผ่านมา มีเรื่องความเลื่อมมล้ำค่อนข้างสูง และ sector ที่ถูกกล่าวหา คือ sector ที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน – เนื่องจากนโยบายของ กก ต้องการที่จะ demonopolize ซึ่งตลาดทุนก็ต้องการความชัดเจนตรงนี้ว่ามันจะออกมาในรูปแบบไหน
กก ต้องการเป็นรัฐสวัสดิการอย่างแท้จริง
รัฐบาลต้องมีขนาดใหญ่ – หมายถึง มีความสามารถในการเก็บภาษี 40% ของ GDP ซึ่งประเทศไทยเก็บได้เพียง 15% ซึ่งรัฐบาลต้องมีอำนาจในเรื่องของเศรษฐกิจ ในการจัดสรรเงินที่เข้ามาให้รัฐเพื่อนำไปใช้จ่ายกับเรื่องรัฐสวัสดิการ ตั้งแต่เกิดจนตายตามที่ได้ตั้งนโยบายไว้ตอนหาเสียง เช่น การเอารายได้จากคนรวย ไปกระจายให้คนที่มีรายได้น้อยกว่า
ผลกระทบนโยบายรัฐสวัสดิการที่อาจจะเกิดขึ้น
รัฐสวัสดิการจะมีาภาระหลักต่อไปนี้
การศึกษา
คนแก่ – ฝรั่งเศสมีเงินเลี้ยงคนแก่ไม่พอ
สาธารณสุข – เมกามีปัญเรื่องนี้ เพราะค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง
จะเอาจากไหน
บ.ขนาดใหญ – นักลงทุนห่วงเรื่องกำไรที่จะได้กลับมา
ดังนั้น การวางนโยบายต้องระวังเรื่องเหล่านี้ คือ ถ้าบีบทุนมาก เขาก็ไปลงทุนที่อื่น ก็จะเสียรายได้ ระวังเรื่อง trade-off – ไม่ง่าย แต่พอมีลู่ทาง เพราะเราต้องพึ่งเงินทุนจาก ตปท. และเทคจาก ตปท. ด้วย
อยากให้เขามาลงทุนก็ต้องสร้างแรงจูงใจ และต้องระวังเรื่อง geopolitics ด้วย
อะไรคือข้อกังวล
นักลงทุนต่างชาติ จะถามเราเรื่องอะไรบ้าง
ความมั่นคงทางการเมืองเป็นไงบ้าง จะได้จัดตั้งรัฐบาลหรือเปล่า
รัฐบาลจะเอียงซ้ายหน่อย ๆ ใช่ไหม – นั่นคือจะเก็บภาษีคนรวย/ทุนใหญ่มากขึ้นหรือเปล่า
แล้วอะไรคือแรงจูงใจ ในเมื่อที่อื่น ๆ มันราคาถูกกว่า
ถ้ามองกันตรง ๆ เงินลงทุนของคนในประเทศ ก็ไหลออกนอกประเทศเรื่อย ๆ และต่างชาติก็ไม่ได้ลงทุนไทยเยอะด้วย (เพราะมันไม่คุ้ม)
ตัวอย่างแรงจูงใจ
บ้านเราผลิตไฟเหลือเฟือ
อุตสาหกรรมผลิตชิปใช้ตรงนี้เยอะ – แต่มันต้องมีปัจจัยอื่น ๆ ในการเกื้อหนุนด้วย เช่น น้ำมีพอสำหรับทำอุตสาหกรรมหรือเปล่า แรงงานคน educate พอไหม และราคาเท่าไหร่
ที่ อ.พูดถึง นลท. ตปท. เพราะว่าเงินได้ของ ปทท มาจาก ตปท. 50-70% (มาจากการลงทุนของต่าง ปท. มาลงทุนในไทย)
Geopolitics
เรื่องนี้ อ. มองว่าไม่น่าจะมีปัญหามากนัก เพราะความต้องการของผู้นำ ต้องการ ปชธปต เต็มตัว และมีความสามารถในการสื่อสารในเวทีระดับนานาชาติได้
จีนต้องการลงมาข้างล่างผ่านเรา ญป ต้องการผ่านจากตะวันออกไปตะวันตก
ถ้าไทย proactive ในเวทีโลกได้ มันจะง่ายต่อการเชื่อมสัมพันธ์ระดับ Global ได้
นโยบาย พรรค กก ไงก็มีแรงเสียดทาน เพราะต้องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ใจเย็น ๆ
อย่ารีบทำ
ไม่ทิ้งใคร
แล้วเดินไปข้างหน้าต่อ
อ. ยกตัวอย่างกรณี 30 บาทรักษาทุกโรค
ช่วยลดความเลื่อมล้ำอย่างแท้จริง เพราะอัตราการเข้าถึงระบบสาธารณสุข จากเดิมคือประมาณ 60% เป็น >90%
มีการไกล่เกลี่ยทรัพยากรโดยที่ไม่กระเทือน GDP
อ. อยากให้มีแบบนี้ในหลาย ๆ sectors
อ. มองว่าการศึกษา เป็นเรื่องท้าทาย
เป็นเรื่องสำคัญที่จะนำอนาคตต่อประเทศ
เด็กจำนวนลดลงเรื่อย ๆ แต่คนแก่มากขึ้น
ถ้าเด็กไม่มีคุณภาพจะเป็นภาระหนักมา ถ้าได้เข้าสู่วัยทำงานแล้วต้องเก็บภาษีเพื่อมาเลี้ยงคนแก่
เด็กไม่มีคุณภาพ – ผู้ใหญ่ไม่มีคุณภาพในอนาคต ก่อให้เกิดการสร้างรายได้ได้น้อย – ภาษีไม่พอเลี้ยงคนแก่ที่มีจำนวนเยอะขึ้น
PISA score เราเน่ามาก รายงานจาก world bank บอกอ่านออกเขียนได้ แต่ทำงานไม่เป็น ต้องสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก ครูต้องเก่ง
การทลายทุนผูกขาด
การผูกขาดแบบ 2 ลักษณะ
ผูกด้วยเทค เพราะไม่มีคนมาแข่งได้
เช่น Apple
ผูกด้วยอำนาจรัฐ
อ. ไม่เอาแบบนี้
ต้องทำให้มัน transparency
ใครไม่ให้ข้อมูล ต้องมีเหตุผลที่ดีพอ
การแก้ไขสัญญาเรื่องการผลิตไฟฟ้า ต้องระมัดระวังเรื่อง cost ของเรื่อง uncertainty ที่บริษัทจะ add up มาในคราวหน้า เพราะเขาไม่มั่นใจว่าจู่ ๆ รัฐบาลจะมาแก้ไขสัญญาแล้วส่งผลต่อกำไรของบริษัทหรือเปล่า
ค่าแรงขั้นต่ำ
ในฐานะของนักเศรษฐศาสตร์ ไม่เห็นด้วย จะส่งผลต่อเด็กรุ่นใหม่ที่หางานได้ยาก เพราะว่าเด็กไม่มีประสบการณ์ แล้ว บ. ต้องเสียคอร์สในการมานั่งเทรนใหม่ เพราะจ้างมาก็ไม่คุ้มกับค่าแรงใหม่ที่มันเพิ่มขึ้น
อ. แนะนำให้มีความเข้มข้นกับการศึกษามากกว่า เพราะว่าการอัพสกิลจะช่วยเพิ่มคุณค่าต่อตัวมันเองอยู่แล้ว
GDP เติบโต 5%
ยาก
น้ำน้อย พลังงานแพง ที่ดินน้อย
สิ่งที่จะทำได้คือ การหาเทคใหม่ ๆ มาเสริมศักยภาพของประเทศ เช่น ภาคที่ต้องการเทคมากสุดคือ ภาคการเกษตร เพราะใช้คนเยอะ แต่ผลผลิตมันออกมาได้น้อย
ตายห่า อ. ยกตัวเอย่างใช้เทคระดับที่ชาวบ้านธรรมดา ๆ ใช้ไม่ได้เลย – อ.หวังว่า รัฐควรจะสนับสนุนเรื่องพวกนี้แทนที่จะเป็นการประกันราคาพืชผลทางการเกษตร
New S-curve
อ.มองว่าภาคบริการน่าจะหาเงินได้มากกว่า เช่น การทำ medical tourism
การทำการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เช่น semi-retirement home
เอาเรื่องของการท่องเที่ยว บวก เรื่องการดูแลผู้สูงอายุ รวมมาอยู่ด้วยกัน
ตั้งมหาวิทยาลัยเทรนหมอ หรือพยาบาล ทำเรื่องพวกนี้
การทำเรื่องงบประมาณ
ปลายปีเป็นไปได้ที่จะเจอเรื่อง recession ของเศรษฐกิจระดับโลก ดังนั้น รัฐ ต้องเตรียมตัวกับภาวะตรงนี้
ข้อเสนอแนะของ อ.
การศึกษาควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ภาคการเกษตร ซึ่งนับเป็น 30% ของแรงงานทั้งหมด แต่ productivity น้อยมาก
สนับสนุนเรื่อง medical tourism เน้นเรื่องภาคบริการ
Comments
Post a Comment