Note - MUSC Research Forum: นวัตกรรมสมุนไพรไทยสร้างเศรษฐกิจในยุค New Normal

 MUSC Research Forum: นวัตกรรมสมุนไพรไทยสร้างเศรษฐกิจในยุค New Normal

  • อาจารย์เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาการให้ทุน สวก. โดยเฉพาะเรื่องนวัตกรรมจากสมุนไพรไทย

  • อาจารย์บอก ตำหรับ จะดีกว่ากว่าสมุนไพรเดี่ยว จะดีกว่าถ้าเราได้ปรึกษาแพทย์แผนไทยที่มีความเชียวชาญ ไม่ไก่กา และควรให้ความเคารพ มิใช่ขโมยผลงานเขา และเอาเทคโนโลยีที่มีอยู่ปัจจุบันซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์เชิงลึกมาสนับสนุนให้มี evidence มากขึ้น เพื่อให้สามารถไปสู่ market ระดับโลกได้

  • ฟังอาจารย์แล้วปลุกพลังได้ดี จริง ๆ แล้วเคยฟัง talk แกครั้งหนึ่งในงาน CPhISEA แต่เป็นภาษาอังกฤษ เหมือนได้ฟังคนระดับด่านหน้าจริง ๆ ในเรื่องของการทำงานสมุนไพร และความพยายามที่จะผลักดันให้ประเทศมีความยังยืนในเรื่องของยารักษาโรค

  • เมื่อฟังแล้วสรุปได้ว่า เราต้องศึกษาภูมิปัญญาที่มีมาแต่โบราณก่อน แล้วเอาไปต่อยอด ไม่ใช่เริ่มจากการคิดเอง เออเอง อาจจะได้งานตีพิมพ์ แต่ไม่ได้มีประโยชน์ต่อประชาชน

  • แต่การดูว่า มียาตำหรับอะไรบ้าง ก็ต้องไปดูโดยการศึกษาประวัติศาสตร์เพิ่มเติม กับลงไปคุยกับปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้เรื่องนี้จริง ๆ แล้วให้เขาทำงานวิจัยร่วมกัน






จากงานประชุมระดับนานาชาติ สรุปประเด็นในเรื่องของเทรนสุขภาพออกมาเป็น 8 ข้อ สำหรับ traditional medicine สำหรับความเห็นของผู้บรรยายคือ เราต้องอิงจากภูมิปัญญาเดิม ที่เรารู้อยู่แล้วว่ายาแบบนี้กินมานานแล้ว และเราควรจะต่อยอดจากตรงนี้ เช่น การทำ evidence-based study ให้มีความชัดเจนมากขึ้น โดยที่เราใช้เทคโนโลยีปัจจุบันมาใช้


ทางยุโรปมีการใช้ยาตำหรับค่อนข้างเยอะ เราอาจจะเริ่มต้นจากตรงนั้นก่อนก็ได้ และหลัง ๆ มาทางยุโรปก็จะต้องเริ่มทำ scientific evidence มากขึ้น เพราะการจะขึ้นทะเบียนยาได้นั้น ต้องมีหลักฐานจากการทดลองระดับหลอดทดลอง และ ระดับ clinical ว่ายาดังกล่าวนั้นใช้ได้ผลจริง จึงจะสามารถนำออกมาใช้ได้ และสามารถส่งขายไปทั่วโลก

















  1. ต้องมี historical research -- มีเรื่องของภูมิปัญหามาเกี่ยวข้อง ไม่ใช่ทำตามความสนใจของตัวเอง

  2. Clinical research -- มีงานวิจัยระดับคลินิครองรับ เพื่อที่จะมาขึ้นทะเบียน (เท่าที่มองในมุมมองส่วนตัว หมอไม่ค่อยอยากทำ เพราะมันไม่ได้เงินเยอะ)

  3. Preclinical research -- ก็เป็นการทดลองในห้องปฏิบัติงานวิจัย เช่น พวก cytotoxicity เป็นต้น

  4. มีการวิจัยในเรื่องของคุณภาพของตัวตำหรับยาว่ามีความสม่ำเสมอ ดูเรื่อง monograph ของตัวยา



ตัวอย่างที่เขาทำ โดยอิงจากสิ่งที่มีเดิมอยู่แล้ว (ภูมิปัญญาเดิม ที่รู้อยู่แล้วว่ามีคนเคยกิน และแก้อาการในลักษณะเดียวกัน) แล้วเอามา apply ต่อกับโรคที่มีลักษณะคล้ายกัน แต่สาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคนั้นต่างกัน คือ ไวรัสต่างชนิด แต่ทำให้การแสดงออกทางอาการมีลักษณะคล้ายกัน เป็นต้น


อาจารย์พูดถึงว่าทีมมหิดลก็ทำงาน anti-covid (น่าจะเป็นกลุ่มของอาจารย์อรุณี) แต่ไม่มีการลิงค์ในตำหรับยาไทย ซึ่งทำให้โอกาสที่จะประสบความสำเร็จในระดับคลีนิคจะน้อยลง เราควรจะเพิ่มเติมที่จุดนี้ จะลดโอกาส failure rate




  • เนื่องจากบ้านเรา (และสังคมโลก) กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งปัญหาหลัก ๆ ของผู้สูงวัยคือ ประสิทธิภาพในการปรับสู่สมดุล หรือ homeostasis จะน้อยลง เราก็ต้องมาดูว่าปัจจัยอะไรที่ทำให้การเข้าสู้ homeostasis ช้าลง ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับกลไกการ decline function ของเซลล์ ดังนั้นแล้วก็ต้องหายาที่สามารถบูส หรือยับยั้งสิ่งที่ทำให้ร่างกายเราเสื่อมถอยลง




  • การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ จะเห็นได้ว่าค่าใช้จ่ายในด้านการรักษามีแต่ราคาจะเพิ่มขึ้นทุกปีไม่มีถูกลง เพราะเราไม่สามารถเข้าถึงยาที่ราคาถูก ๆ ได้ เพราะเราต้องซื้อเขาตลอด





















  • เอามาเป็น gap analysis เพือนำมาเขียนขอทุนวิจัย



  • แกบอกงานทางด้าน QSAR มันอิ่มตัว และ success rate เริ่มมีน้อยลง




















  • เป็นแหล่งข้อมูลที่เราควรอ่านเพื่อที่จะนำมาต่อยอด โดยการที่ไปศึกษาว่า content ในตำหรับยาไทยประกอบไปด้วยอะไร และถ้าแยกมาแล้ว และนำเอาไปประยุกต์ใช้จะมีผลเช่นไรบ้าง เพราะถ้าเริ่มจากตรงนี้ ก็จะทำให้ผลข้างเคียงที่จะเกิดขึ้นนั้นต่ำลง เพราะเป็นการสกรีนมาจากหมอพื้นบ้านมาแล้วว่าตำหรับดังกล่าวนั้นสามารถรับประทานได้ ดังนั้นการแยกสารเดี่ยวออกมา แล้วนำมาทดสอบ sucess rate อาจะสูงกว่า



  • Guildline ของระดับยุโรป ถ้าเราต้องการที่จะเอามาใช้จริงจัง และออกขายสู่ตลาด เราต้องมีมาตรฐานของการใช้ ตรวจสอบคุณภาพ (monograph) 



  • เราสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่องมาตรฐานการผลิตยาสมุนไพร ได้จาก cookbook ของเขา




  • ในอเมริกาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมีความฮอตฮิตมาก



  • มองตลาดโลก เยอรมันเป็นประเทศที่มีตลาดทางด้านสมุนไพร และตำหรับยา ค่อนข้างเยอะ


เทรนในกลุ่มประเทศสหรัฐอเมริกา




Supplement ที่ pop มากในประเทศสหรัฐอเมริกา


  • เอาจริง ๆ ก็ต้องไปตามอ่านเหมือนกันว่าเขาทำงานวิจัยยังไงบ้าง … 



  • ถ้าต้องการจะโฟกัสเรื่อง anti-aging ก็ต้องดูเรื่องปัจจัยพวกนี้ การที่เราสามารถหาสารสกัดจากพืชสมุนไพรเดี่ยว หรือมาจากตำหรับยา ควรจะมีฤทธิ์ในการ























  • ต้องปรับปรุงไปทางด้านขวา



  • การปลูกต้องดีไม่มีพิษ

  • การสกัดต้องเหมาะสม และควรต้องไปศึกษาจากภูมิปัญญาไทย เพื่อได้คุณภาพตรงตามตำหรับเดิม
















  • ถ้าจะทำตำหรับ สำคัญมาก ๆ ที่จะต้องไปอ่าน guildline ไปดาวนโหลดได้ตามลิงค์ข้างล่างนี้ในสไลด์นี้



  • Flow การทำงานที่ดีของการแพทย์แผนโบราณประยุกต์


  • อาจารย์ก็ไปเป็น consultant ให้กับ รพ.วิชัยยุทธ



  • บ้านเรามีปัญหาเรื่องการควบคุมคุณภาพในเรื่องสารสกัดมาตรฐาน แต่ละลอตที่ผลิตออกมามันไม่ได้มาตรฐาน (เอาจริง ๆ แล้วที่จุฬาเปิดบริการตรงนี้ เพราะเคยฟังช่วงที่มีงาน Thailand lab เมื่อปีที่แล้ว)
















  • อาจารย์แกก็บอกอีกว่า COVID19 เอาจริง ๆ แล้วถ้าไปดูดี ๆ สมัยโบราณ ก็มีการรักษาโรคที่มีลักษณะคล้ายกันด้วย ดังนั้นเป็นไปได้ว่า เชื้อโรคต่างกัน แต่ถ้าลักษณะการแสดงออกของอาการคล้ายกัน มีโอกาสเป็นไปได้ว่าเราสามารถเอาตำหรับยานั้นไปรักษาโรคอุบัติใหม่



  • ลักษณะการกินก็ต้องกินตามตำรา จะมีการกินแบบ step-step บางตัวก็ผสมเหล้า -- ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่กับ content ข้างในว่าละลายได้ดีด้วยตัวทำละลายแบบไหน


  • กระทุ้งพิษก่อน และค่อยบูสระบบภูมิคุ้มกัน


  • การทำงานควรจะเป็นแบบ multidisciplinary team -- เพื่อที่จะทำให้งานวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย และสามารถสร้างมูลค่าได้ ไม่ใช่เน้นแต่เรื่องการตีพิมพ์อย่างเดียว เพราะ ปชช. ไม่ได้ประโยชน์อะไรจากงานวิจัย



















  • เกณฑ์ทางด้านคุณภาพในการขึ้นทะเบียน ในปลุ่มประเทศยุโรป

 

วกกลับมาเรื่องการขอทุน และผลงานของ สวก. ที่ได้ให้ทุนไป









Comments

Popular posts from this blog

Useful links (updated: 2024-10-23)

Odd ratio - อัตราส่วนของความต่าง

Note: A Road to Real World Impact (new MU-President and Team) - update 12 Sep 2024