Systematic review and Meta-analysis
บรรยายโดย รศ.ดร.ศศิวิมล รัตนสิริ
โดยสรุป
1 . การหา research question ชัดเจนเบสออน PICOทำไมเราต้องการรีวิวเรื่องนี้เหตุผลเบื้องหลังคิออะไร feasibility ที่จะเอามาทำได้มากน้อยขนาดไหน เช่น
จำนวน research article มากน้อยขนาดไหน และดูผลลัพธ์ที่ได้ในแต่ละ study เป็นอย่างไรบ้าง มีความ
consistency ไหม
2. คำถามวิจัยมีคนทำ meta-analysis แล้วหรือยัง และเขาทำกันแบบไหน วิธีการ pooling เขาใช้วิธีแบบไหน
intervention คืออะไร outcome คืออะไร ของการทำ meta-analysis และดูว่าเขาทำ literature search ถึงปีไหน
3. แหล่งของข้อมูลที่เราจะเอามาทำ meta-analysis หาให้ได้มากที่สุด ใช้มากกว่า 2 ดาต้าเบส
4. อย่าลืมว่าวิธีการเลือก study ที่จะเอามาทำ meta-analysis ต้อง มี 2 รีวิวเวอร์ในการเลือก study จะเอาเข้ามา
เมื่อความเห็นตรงกัน โดยการเลือกก็ตามแบบฟอร์มของ inclusion exclusion criteria ที่ได้กำหนดไว้ ถ้าเลือก
ไม่ตรงกันอาจใช้ third party to make finalize decision
5. เลือก tool ที่เหมาะสมในการมาประเมินคุณภาพของตัวงานวิจัยที่เราจะเอามาใช้ทำ meta-analysis
6. การทำ meta-analysis จะ pooling ตาม study design แล้วเอาไปวิเคราะห์แยกกัน
7. Meta-analysis แบ่งเป็น
Direct-meta analysis -- วิเคราะห์เป็นคู่ ๆ แยกกัน ดูผลกระทบจากสาเหตุตัวเดียว
Network-meta analysis -- เอามาดูเป็นโครงข่าย โดยเอาจาก direct มารวมกันดูเป็น network
8. Discuss and conclude ดูว่าเราได้อะรมาบ้าง ห้าม overinterprete
9. Register review protocol (prospero, cochrane library) -- มันจะเป็น checklist ที่ให้กรอกเลยว่าเราใช้ method ในการทำ meta-analysis เพื่อลดความซ้ำซ้อนของ
การทำงานวิจัย
10. การรายงานผลหรือการตีพิมพ์ ตามหลักของ PRISMA แนะนำให้เริ่มต้นตั้งแต่การเขียน protocol เลย
จะทำให้การเขียน MS ง่ายขึ้น
11. การทำงานเรื่องนี้ คือ ควรจะมีนักสถิติ คนที่เก่งหลาย ๆ ด้าน ความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย ที่เกี่ยวข้องกับ
หัวเรื่องที่จะทำ meta-analysis การทำงานแบบเป็น team work ค่อนข้างสำคัญ
ฟังเพลินดี และได้ความรู้งานทางด้าน meta-analysis แบบคร่าว ๆ ว่าเขาทำกันอย่างไร เพื่ออะไร มีวิธีอย่างไร และผลลัพธ์จากการทำ meta-analysis คืออะไร
Comments
Post a Comment